เป้าหมาย (Understanding Goal):ตระหนักและเห็นคุณค่าของพืช ผักต่างๆ สามารถผลิตและนำวัตถุดิบที่มีอยู่ในพื้นถิ่นมาประกอบเป็นอาหารเพื่อบริโภคได้อย่างถูกหลักโภชนาการ อีกทั้งสามารถเผยแพร่สิ่งที่ได้เรียนรู้สู่ชุมชนของตนเองได้อย่างเหมาะสม

Main



หน่วย: ยำแซบคุณผัก   

คำถามหลัก (Big Question)   :  นักเรียนจะสามารถนำผักในพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้น่ารับประทานและมีคุณค่าทางโภชนาการได้อย่างไร

ภูมิหลังของปัญหา:

ปัจจัยที่ส่งผลให้คนในสมัยก่อนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง  อันเนื่องมาจากมีการประกอบอาหารรับประทานเอง  และใช้วัตถุดิบที่มีในพื้นถิ่น  ซึ่งปลอดภัย
ปราศจากสารเคมี  อาหารแต่ละมื้อของคนในสมัยก่อนจะมีผักเป็นส่วนประกอบ  ซึ่งสามารถหาได้ในพื้นถิ่นของตนเอง  ผักแต่ละชนิดล้วนแล้วแต่มีสรรพคุณแตกต่างกันออกไป  อาทิเช่น  ใบบัวบกให้สรรพคุณแก้ช้ำใน     ผักแว่นให้สรรพคุณเสริมสร้างเม็ดเลือดแดงและมีธาตุเหล็กสูง แต่ในสังคมปัจจุบันนี้มีความเร่งรีบในการบริโภค ทำให้วิถีการกินอาหารเปลี่ยนไป อาหารจานด่วน จานเดียวค่อยๆ เข้ามา  ซึ่งอาหารเหล่านี้มีความเสี่ยงสูงที่จะทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ เช่น ไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคอ้วน  โรคหัวใจ ฯลฯ  ดังนั้นคุณครูและพี่ ป.  จึงสนใจที่จะเรียนรู้หน่วย  พืชผักพื้นถิ่น  เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะของการเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคที่ดี



ปฏิทินการเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ  Problem Based Learning (PBL)
หน่วย :  ยำแซบคุณผัก
ระดับชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4  Quarter 3  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

Week
Input
Process
Output
Outcome
1
26-30
..
2558






















โจทย์ :เรื่องที่อยากเรียนรู้
เครื่องมือคิด
Round Robin
Card and Chart
Think pair share
Brainstorms
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอปลูกผักกินเอง
- บริเวณโรงเรียน
-   ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ ปลูกผักกินเองของครูใหญ่
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจพืชผักในโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการเดินสำรวจพืชผักในโรงเรียน
- นักเรียนเลือกหัวข้อหน่วยและตั้งชื่อหน่วย
- วาดภาพตกแต่งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นจากการดูวีดีโอ
- ค้นหาข้อมูลสิ่งที่อยากเรียนรู้
พูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการสำรวจเดินสำรวจผักพื้นถิ่นบริเวณโรงเรียน

ชิ้นงาน
ชื่อหน่วยที่อยากเรียน
- Mind Mapping ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 1
ความรู้ :
สามารถแสดงความคิดเห็นและอภิปรายสิ่งที่ตนเองรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงเพื่อเลือกหัวข้อที่สนใจในการเรียนรู้ได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT

คุณลักษณะ
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- ส่งงานตรงเวลา
- ทำงานจนสำเร็จด้วยความตั้งใจ




Week
Input
Process
Output
Outcome
2
2-6
..
2558
โจทย์ :กระบวนการวางแผนการเรียนรู้
เครื่องมือคิด  
Round Robin
Brainstorms
Show and Share
Think pair share
Black Board Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแบ่งกลุ่มคิดวางแผนสร้างปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอปฏิทินของกลุ่ม
ทำ Mind Mapping ก่อนเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
ภาระงาน
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนปฏิทินการเรียนรู้ สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้

ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 2
ความรู้ :
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนรวมทั้งเข้าใจและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
3
9-13
..
2558
โจทย์ :การปลูกผักพื้นถิ่น /การดูแล
เครื่องมือคิด
Round Robin
Brainstorms
Show and Share
Think pair share
Black Board Share

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
สถานที่ในโรงเรียน
- สวนผักคุณแม่พี่มิกซ์
- คลิปวีดีโอหอมแผ่นดิน
- ครูพานักเรียนไปเรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์ที่บ้านคุณแม่พี่มิกซ์
- ครูเปิดคลิปวีดีโอหอมแผ่นดินให้นักเรียนชม
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- ครูให้นักเรียนออกแบบและเตรียมอุปกรณ์ปลูกผัก เช่น ดิน เมล็ดผักชนิดต่างๆ เพื่อที่จะทดลองปลูกพืชผักในท้องถิ่น 
ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ  คน เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับพืชผักที่ตนเองนำมาปลูก
นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดหมวดหมู่และประเภทของพืชผัก แล้วทำชาร์ตสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับพืชผักในท้องถิ่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพืชพื้นถิ่น
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
ภาระงาน
- การพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการออกแบบอุปกรณ์ในการปลูกผักที่มีพื้นที่บริเวณที่จำกัด
- การพูดคุยแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่และประเภทของพืชผักที่นำมาปลูก
- การไปเรียนรู้นอกสถานที่

ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
ชาร์ตสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่พืชผักในท้องถิ่น
สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
-  สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่

ความรู้ :
สามารถสำรวจและจำแนกประเภทพืชผักที่มีอยู่ในแต่ละภูมิภาค  รวมทั้งภายในชุมชนของตนเองและออกแบบการปลูกผักได้อย่างสร้างสรรค์

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
4
16-21
..
2558
โจทย์ :ผักพื้นถิ่นที่ใช้ใบในการประกอบอาหาร
เครื่องมือคิด
Round Robin
Brainstorms
Show and Share
Think pair share
Black Board Share

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่มีอยู่ในโรงเรียนและนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารในได้คุณค่าทางโภชนาการและน่ารับทาน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น  4  กลุ่มวางแผนออกแบบเมนูอาหารและลงมือประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการประกอบอาหาร
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสรรพคุณของผักพื้นถิ่นที่ใช้ใบในการประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบ สมุดความรู้ผักพื้นถิ่นกินใบ
นำเสนอให้พี่และน้องๆได้รับฟัง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4

ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่จะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นที่นักเรียนเลือกมาประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นจะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการประกอบอาหาร

ชิ้นงาน
- อาหารจากผักพื้นถิ่นกินใบ
-  สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
- สมุดความรู้ผักพื้นถิ่นกินใบ
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
5
23-27..
2558
โจทย์ :ผักพื้นถิ่นที่ใช้ดอกในการประกอบอาหาร
เครื่องมือคิด
Round Robin
 Blackboard Share Brainstorms
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่มีอยู่ในโรงเรียนและนำผักพื้นถิ่นที่ใช้ดอกมาประกอบอาหารในได้คุณค่าทางโภชนาการและน่ารับทาน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มวางแผนออกแบบเมนูอาหารและลงมือทำอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำอาหาร
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสรรพคุณของผักพื้นถิ่นที่ใช้ดอกในการประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบแผ่นพับความรู้ผักพื้นถิ่นกินดอก
นำเสนอให้พี่และน้องๆได้รับฟัง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่จะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นที่นักเรียนเลือกมาประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นจะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการประกอบอาหาร

ชิ้นงาน
- อาหารจากผักพื้นถิ่นกินดอก
-  สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
- แผ่นพับความรู้ผักพื้นถิ่นกินดอก
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
6
30.. -4 ..
2558
โจทย์ :ผักพื้นถิ่นที่ใช้ลำต้นในการประกอบอาหาร
เครื่องมือคิด
Round Robin
 Blackboard Share
Brainstorms
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่มีอยู่ในโรงเรียนและนำผักพื้นถิ่นที่ใช้ลำต้นมาประกอบอาหารให้ได้คุณค่าทางโภชนาการและน่ารับทาน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มวางแผนออกแบบเมนูอาหารและลงมือทำอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำอาหาร
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสรรพคุณของผักพื้นถิ่นที่ใช้ลำต้นในการประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบนิทานช่องผักพื้นถิ่นกินลำต้น
นำเสนอให้พี่และน้องๆได้รับฟัง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6

ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่จะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นที่นักเรียนเลือกมาประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นจะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการประกอบอาหาร

ชิ้นงาน
- อาหารจากผักพื้นถิ่นกินลำต้น
-  สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
- นิทานช่องผักพื้นถิ่นกินลำต้น
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
7
8-11 ..
2558

***
วันจันทร์ ที่ 7 .. หยุดชดเชยวันพ่อ
โจทย์ :ผักพื้นถิ่นที่ใช้หัว ผล  ในการประกอบอาหาร
เครื่องมือคิด
Round Robin
Blackboard Share
Brainstorms
 Show and Share
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่มีอยู่ในโรงเรียนและนำผักพื้นถิ่นที่หัวมาประกอบอาหารในได้คุณค่าทางโภชนาการและน่ารับทาน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มวางแผนออกแบบเมนูอาหารและลงมือทำอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำอาหาร
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสรรพคุณของผักพื้นถิ่นที่ใช้ใบในการประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลมานำเสนอสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับผักพื้นถิ่นกินหัว  ผล
นำเสนอให้พี่และน้องๆได้รับฟัง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่จะนำมาประกอบอาหาร
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นที่นักเรียนเลือกมาประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นหาลักษณะ สรรพคุณของพืชพื้นถิ่น(กินหัว ผล)
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการประกอบอาหาร

ชิ้นงาน
- อาหารจากผักพื้นถิ่นกินลำต้น
-  สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับผักพื้นถิ่นกินหัว  ผล
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
8
14-18 ..
2558
โจทย์ :การถนอมอาหาร(กิมจิ)
เครื่องมือคิด
 Round Robin
Blackboard Share
Brainstorms
Show and Share
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ อาหารโอชารส ตอนการถนอมอาหาร
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
- ครูเปิดคลิปวีดีโออาหารโอชารส ตอนการถนอมอาหาร ให้นักเรียนดู
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเดินสำรวจผักพื้นถิ่นที่มีอยู่ในโรงเรียนและนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารในได้คุณค่าทางโภชนาการและน่ารับทาน
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มวางแผนออกแบบเมนูอาหารและลงมือทำกิมจิ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการทำกิมจิ
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการทำกิมจิ
 - นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลมานำเสนอในรูปแบบชาร์ตความรู้และนำไปนำเสนอให้พี่และน้องๆได้รับฟัง
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับผักพื้นถิ่นที่นักเรียนเลือกมาถนอมอาหาร
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการถนอมอาหาร

ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- กิมจิจากผักพื้นถิ่น
- วิธีการทำกิมกิอาหารจากผักพื้นถิ่น
-  สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของพืชผักที่ปลูกไว้
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
9
21-25 ..
2558
โจทย์ :  การประกอบอาหาร  ผักในพื้นถิ่น / เปิดบ้านให้พี่ๆ น้องๆได้ชิม
เครื่องมือคิด
Round Robin
Blackboard Share
Brainstorms
Show and Share
Mind Mapping

 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- อุปกรณ์ประกอบอาหาร
- อินเตอร์เน็ต
-  พืชผักพื้นถิ่น
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบอาหารพืชผักพื้นถิ่น
- นักเรียนออกแบบเมนูอาหารจากผักพื้นถิ่น จากนั้นก็นำเสนอเมนูอาหารให้เพื่อนฟัง
นักเรียนร่วมกันสะท้อนเมนูอาหารที่ทำให้เพื่อนฟัง 
ครูและนักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกเมนูอาหารที่จะเปิดบ้านให้พี่ๆ น้องๆ ได้ชิม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอนิทรรศการอาหารจากผักพื้นบ้าน (ชาร์ตความรู้ ละคร บทกลอน  แต่งเพลง เพลงฉ่อย  ประกอบอาหาร)ถ่ายทอดความรู้ให้พี่ๆน้องๆและคุณครูได้รับฟัง
- วางแผนนำเสนอถ่ายทอดสิ่งที่ศึกษาผ่านมาให้ผู้อื่นเข้าใจ
- จัดนิทรรศการ
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ผ่านมา
- นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
ภาระงาน
- การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับออกแบบเมนูอาหารจากผักพื้นถิ่น
-การประกอบเมนูอาหาร
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้ผู้อื่นเข้าใจ

ชิ้นงาน
 นิทรรศการอาหารจากผักพื้นบ้าน(ชาร์ตความรู้ ละคร บทกลอน  แต่งเพลง เพลงฉ่อย  ประกอบอาหาร)
- Mind Mapping หลังการเรียนรู้
- ออกแบบเมนูอาหาร
สมุดบันทึก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่  9
ความรู้ :
เข้าใจตระเห็นคุณค่าของผักพื้นถิ่นและสามารถนำผักพื้นถิ่นมาประกอบอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ อีกทั้งสามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

Week
Input
Process
Output
Outcome
10
28-29 ..
2558
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
เครื่องมือคิด
Round Robin
 Blackboard Share
 Brainstorms
 Show and Share
 ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สถานที่ในโรงเรียน
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนแต่ละคนเขียนสิ่งที่ทำได้ดีแล้วสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่  10
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ทำได้ดีแล้วสิ่งที่ควรพัฒนา

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว/สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10

ความรู้ :
นักเรียนสามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผักพื้นถิ่น เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ
- มีความกระตือรือร้นและลงมือทำสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :“ยำแซบคุณผัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 / 2558  Quarter 3


มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
- สร้างฉันทะ
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว/  
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน


มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องหรือสถานการณ์ที่จะศึกษารวมทั้งปัญหาที่อยากแก้ไขตามความสนใจ
(ว 8.1 .4/1)
- ออกแบบวางแผนการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าเสนอวิธีสำรวจตรวจสอบสิ่งที่อยากเรียนรู้(ว 8.1 .4/2)
- บันทึกข้อมูลจากการเดินสำรวจพืชผักในโรงเรียนและนำเสนอผลสำรวจได้(ว 8.1 .4/4)
- สร้างคำถามใหม่ จากสิ่งที่อยากเรียนรู้และประเด็นของปัญหาที่อยากแก้ไข(ว 8.1 .4/5)
- นำเสนอผลงานการเขียนสรุปปัญหา สิ่งที่อยากเรียนรู้ ปฏิทินให้ผู้อื่นเข้าใจได้                   (ว 8.1 .4/8)



มาตรฐาน ส 1.1
แสดงออกถึงการชื่นชมในความสามารถและชิ้นงานของเพื่อนที่ทำได้ดีแล้ว (ส 1.1 . 4/5)
มาตรฐาน ส 2.1
- เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีระหว่างการร่วมกิจกรรมได้                        (ส  2.1 . 4/1-2)
- สามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างสันติสุขระหว่างการเรียนรู้ร่วมกันตลอดจนมีความเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อุปกรณ์และสีให้กับเพื่อนร่วมกลุ่มได้
(ส 2.1 . 4/5)
มาตรฐาน ส 2.2
 อธิบายบทบาทหน้าที่ของตนเองในกระบวนการเลือกหัวข้อหน่วยได้ (ส 2.2 . 4/2)








มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถนับช่วงเวลาเป็นศตวรรษ/สหัสวรรษและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิต ประจำวันได้
(ส 4.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติความเป็นมาของมนุษย์กับปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต(ส 4.1 ป.4/2)
มาตรฐาน พ 2.1
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำกิจกรรมออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ป.4/2)


มาตรฐาน ศ 1.1
- สร้างสรรค์ชิ้นงานและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ผ่านการวาดตกแต่งผลงานปฏิทินการเรียนรู้รายสัปดาห์
(1.1.4/2/3)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างสรรค์ งานวาดภาพระบายสี ตกแต่งชิ้นงานสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งอยากเรียนรู้
( 1.1 .4/5)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(1.1 .4/1-2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด                       (1.1 .4/4)


สาระการ
เรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
- การปลูกผักพื้นถิ่น /การดูแล
- การประกอบอาหารจากผักพื้นถิ่น(ใบ   ดอก  ลำต้น  ดอก  ผล)
- ประโยชน์ของผักพื้นถิ่น
าตรฐาน ว1.1
- สามารถอธิบายอาหาร เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การเจริญเติบโตและพัฒนา การด้านต่างๆของมนุษย์          (ว 1.1 ป.4/2)
  - เข้าใจและสามารถอธิบาย น้ำ อาหาร อากาศ  แสงเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญต่อกระบวนการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต (ว 1.1 .4/3)
- เข้าใจและวิเคราะห์สารอาหาร และอภิปรายความจำเป็นที่ร่างกายต้องการสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย  (ว 1.1 6/3)
มาตรฐาน ว 1.2
- สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพที่มีผลต่อต่อการบริโภคของมนุษย์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม                    (ว 1.2 3/5)
- อภิปรายผลของเทคโนโลยี ชีวภาพของวัตถุดิบในการประกอบอาหารและผลที่เกิดจากเทคโนโลยีนั้น          (ว 1.2 3/5)
มาตรฐาน ว 8.1
- บันทึกข้อมูลของอาหารแล้วนำเสนอและสรุปข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของอาหารได้  (ว 8.1 4/4)
- ตั้งคำถามใหม่จากผลการสำรวจเกี่ยวกับที่มาของอาหารในท้องถิ่นและเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับอาหาร         ( ว 8.1 ป.4/5)
- แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารจากแหล่งที่มาต่างๆ และรวบรวมเป็นความรู้ให้คนอื่นเข้าใจ  ( ว 8.1 ป.4/6)


มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรม      (ส 1.1ป.4/3)
- ชื่นชมการทำสิ่งที่ดีของตนเองเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่นพร้อมทั้งนำไปใช้ในชีวิต ประจำวัน (ส 1.1ป.4/5)                        



















มาตรฐาน ส 2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม ปฏิบัติตามข้อตกลง  กติกาและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติได้   (ส 2.1 ป.4/1)
 - สามารถปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี (ส 2.1 ป.4/2)
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งมีอำนาจในการตัดสินใจในการทำงานและสามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับกลุ่มได้                                  (ส 2.2ป.4/2)                   
- รับฟังความคิดเห็น ความเชื่อและการปฏิบัติตนที่แตกต่างกันของวัฒนธรรมกลุ่มคนในท้องถิ่น  (ส 2.1 ป.4/4)
- สามารถนำเสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิติประจำวัน   (ส 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน 3.1
- สามารถระ บุถึงทรัพยากรที่นำมาผลิตเป็นอาหารเพื่อการบริโภคในชีวิต ประจำวันได้   (ส 3.1 4/1)
- สามารถอธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง(ส 3.1 4/3)
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตอาหารประเภทต่างๆที่มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค และสังคม              (ส 3.1 6/1)
มาตรฐาน ส 2.2
- สามารถอธิบายแหล่งที่มาของอาหารและความสำคัญของวิถีชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับอาหาร โดยใช้อำนาจอธิปไตยและความ สำคัญของระบอบประชาธิปไตยได้       
(ส 2.2 ป.4/1)
- อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกบริโภคอาหารได้
(ส 2.2 ป.4/2)



















มาตรฐาน ส 4.1
 - สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นที่มาและความ
สำคัญของอาหารโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1ป.5/1)
- สืบค้นการเปลี่ยนแปลงด้านอาหาร พฤติกรรมการกินในวิถีชีวิต ประจำวันของคนในชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (ส  4.1 4/1)
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมต่อวิถีชีวิตและพฤติกรรมการกินของคนในชุมชน  (ส 4.1 ป.4/2)      มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำอาหารในท้องถิ่น
(ส 4.2ป.4/1)
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการกินของผู้คนในชุมชน
  (ส 4.2 ป.4/2)

มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนที่ดีรวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกครอบครัว สมาชิกของสังคมและของโลกที่ดี
(พ 2.1ป.4/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมระหว่างการทำงานและการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น                             (พ 2.1ป.4/2)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1 ป.4/2)
- สามารถอธิบายและบอกวิธีการดำรงชีวิตในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อตนเอง    (พ 5.1 ป.4/3)
มาตรฐาน พ 4.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของอาหารต่อร่างกาย รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(พ  4.1 ป.4/1)
- วิเคราะห์แหล่งที่มาของอาหาร ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภคที่ถูกต้องตามหลัก โภชนาการ (พ 4.1 ป.4/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
 (ศ1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ1.1 ป.4/2)
- เข้าใจและสามารถจำแนกทัศนธาตุในศิลปะโดยใช้เส้น สี รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติและนำมาวาดภาพได้
(ศ1.1 ป.4/3)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลป
(ศ1.1ป.4/45)                            
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในผลงานได้
(ศ1.1 ป.4/9)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(1.1 .4/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบและสามารถระบุวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด (ง 1.1 ป.4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น                        (1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(1.1 .4/4)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่
น่าเชื่อถือ รวมทั้งรู้จัก
การสืบค้นจากแหล่งข้อ มูลที่หลากหลาย                 (ง 3.1 ป.4/1)
- บอกประโยชน์ของข้อมูลที่หาจากแหล่งต่างๆ และรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับที่มาและความ สำคัญ ของอาหาร                             (ง  3.1 .4/1-2  )   
- เข้าใจกระบวนการทำงานการแปรรูปอาหาร ทำงานบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ด้วยความขยัน อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์                
 (ง 1.1 ป. 4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มขณะทำงาน       (ง 1.1 ป. 4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด (ง 1.1 ป. 4/4)



สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
-สำรวจพืชผัก ในท้องถิ่น
-โครงสร้างพืชผัก

 มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถทดลองและอธิบายหน้าที่ของท่อลำเลียงและปากใบของพืช (ว 1.1 ป.4/1)
- สามารถอธิบายน้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  แสงและคลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยที่จำเป็นบางประการต่อการเจริญเติบโตและสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (ว 1.1 ป.4/2)
- สามารถทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง เสียงและการสัมผัส  (ว 1.1 ป.4/3)
- อธิบายพฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อแสง  อุณหภูมิการสัมผัสและการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์(ว 1.1 ป.4/4)
- สามารถสังเกตและระบุส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก 
 (ว 1.1 ป.5/1)
- อธิบายการสืบพันธุ์ของพืชดอกการขยายพันธุ์พืชและการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์   (ว 1.1 ป.5/2)
- อธิบายวัฏจักรชีวิตของพืชดอกบางชนิด               (ว 1.1 ป.5/3)
- อธิบายการสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ของสัตว์     (ว 1.1 ป.5/4)
- สามารถอภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิดและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์  (ว 1.1 ป.5/5)











มาตรฐาน ส 1.1
- เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรม               
 (ส 1.1ป.4/3)
- ชื่นชมการทำสิ่งที่ดีของตนเองเห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่นพร้อมทั้งนำไปใช้ในชีวิตประจำวันวัน                 (ส 1.1ป.4/5)










มาตรฐาน ส 2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม ปฏิบัติตามข้อตกลง  กติกาและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติได้   (ส 2.1 ป.4/1)
 - สามารถปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี     (ส 2.1 ป.4/2)
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งมีอำนาจในการตัดสินใจในการทำงานและสามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกับกลุ่มได้         (ส 2.2ป.4/2)                   
- รับฟังความคิดเห็น ความเชื่อและการปฏิบัติตนที่แตกต่างกันของวัฒนธรรมกลุ่มคนในท้องถิ่น    (ส 2.1 ป.4/4)
- สามารถนำเสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิติประจำวัน    (ส 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.2
- อธิบายโครงสร้างของพืชผักและสัตว์ในท้องถิ่น โดยใช้อำนาจอธิปไตยและความ สำคัญของระบอบประชาธิปไตยได้    
 (ส 2.2 ป.4/1)
- สามารถอธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกหัวข้อนำเสนอโครงสร้างของพืชผักและสัตว์ในท้องถิ่นได้ (ส 2.2 ป.4/2)



มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถแยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็นมาของพืช สัตว์ในท้องถิ่น(ส 4.1 ป.4/3)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นที่มาและความ
สำคัญของพืชและสัตว์โดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันผ่านการทำอาหารจากพืชและสัตว์ในท้องถิ่น
(ส 4.2 ป.4/1)
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการกินของผู้คนในชุมชน (ส 4.2 ป.4/2)

มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนที่ดีรวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกครอบครัว สมาชิกของสังคมและของโลกที่ดี
(พ 2.1ป.4/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมระหว่างการทำงานและการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น                              (พ 2.1ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล(พ 2.1ป.5/3)
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1 ป.4/2)
- สามารถอธิบายและสำรวจพืช / สัตว์อยู่ในท้องถิ่นให้ผู้อื่นเข้าใจได้(พ 5.1 ป.4/3)
มาตรฐาน พ 4.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายโครงสร้างพืชและสัตว์ที่ประโยชน์ต่อร่างกาย รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  (พ 4.1 ป.4/1)
- วิเคราะห์โครงสร้างของพืชและสัตว์ เพื่อการเลือกบริโภคที่ถูกต้องตามหลัก โภชนาการ                          (พ 4.1 ป.4/3)

มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานสองและสามมิติ
(ศ 1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะและการออกแบบ  (ศ 1.1 ป.4/4-5)
- เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับโครงสร้างพืชและสัตว์ทั้งสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ                            (ศ 1.1 ป.4/8)

มาตรฐาน ง 1.1
- มีทักษะในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนและอธิบายเหตุผลในการทำงานได้
(1.1 .4/1-2)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบและสามารถระบุวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมแลประหยัด                 
  (ง 1.1 ป.4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่น  (1.1 .4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(1.1 .4/4)
- เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่
น่าเชื่อถือ รวมทั้งรู้จักการสืบค้นจาก
แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย      (ง 3.1 ป.4/1)
- บอกประโยชน์ของข้อมูลที่หาจากแหล่งต่างๆ และรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับการสำรวจและโครงสร้างพืชและสัตว์ในท้องถิ่น    (ง  3.1 .4/1-2  )   
- เข้าใจโครงสร้างการทำงานของพืชและสัตว์ของเป้าหมายที่วางไว้ด้วยความขยัน อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์        
(ง 1.1 ป. 4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มขณะทำงาน
(ง 1.1 ป. 4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด     (ง 1.1 ป. 4/4)


















สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
- กระบวนการผลิต
 - ออกแบบเมนูอาหารจากพืชในท้องถิ่น
- ลงมือทำอาหาร / ถนอม
( การเชื่อม, การแช่อิ่ม ,ตากแห้ง)
- การผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
มาตรฐาน ว 2.2
- อภิปรายและนำเสนอการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาเป็นอาหารได้  อย่างประหยัด คุ้มค่า และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ   (ว 2.2 ป.6/3)                          
- วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติที่นำมาเป็นอาหาร ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง                     (ว 2.2 3/4)
มาตรฐาน ว 8.1
- เข้าใจและสามารถสร้างคำถามใหม่เพื่อการออกแบบเมนูอาหารและทดลองทำ อาหารจากพืชและสัตว์ในท้องถิ่น            (8.1ป.4/5 )
- เข้าใจและสามารถสรุปเกี่ยวกับการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารได้
(8.1ป.4/6 )
- เข้าใจและสามารถบันทึกเกี่ยวกับการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารอย่างตรงไปตรงมา(8.1ป.4/6 )
-ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมและถูกหลักโภชนาการในการทำอาหารและการถนอมอาหาร (ว 8.1 ป.4/3)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานด้วยวาจา และเขียน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้                          (8.1ป.4/8)
มาตรฐาน ส 1.1
 เข้าใจเห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากศาสนิกชนที่ดีระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนขณะร่วมกิจกรรมและอยู่ร่วมกัน
 (ส 1.1ป.4/3)
มาตรฐาน ส 3.1
- สามารถบอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว                     (ส 3.14/2)
-บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเองในแต่และวันแล้ววิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง    
(ส 3.1 ป.4/2)
-สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม     (ส 3.1 ป.4/3)

















มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีในกระบวนการผลิตและออกแบบเมนู อาหารได้ (ส 2.1 ป.4/2)
- สามารถนำเสนอกระบวนการผลิตและการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารได้         (ส 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.2
 สามารถอธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกออกแบบเมนูจากพืชผักและสัตว์ในท้องถิ่นได้      (ส 2.2 ป.4/2)



มาตรฐาน ส 4.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายการตั้งหลักแหล่งและพัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์กับ
ปัจจุบันในการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหาร (ส 4.2ป.4/1)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นที่มาและความ
สำคัญของอาหารโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.2ป.5/1)
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมการกินของผู้คนในชุมชน         (ส 4.2 ป.5/2)

มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนที่ดีรวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นเพื่อน เป็นสมาชิกครอบครัว สมาชิกของสังคมและของโลกที่ดี
 (พ 2.1ป.4/1)
- มีพฤติกรรมที่เหมาะ สมกับเพศและวัยมีทัศนะคติและสัมพันธภาพที่ดีและ สามารถทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข                    (พ 2.14/1-4)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมระหว่างการทำงานและการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งระหว่างการทำงานร่วมกันได้อย่างมีเหตุมีผล   (พ 2.1ป.5/3)




























มาตรฐาน ศ 1.1
- เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติผ่านการสร้างสรรค์ชิ้นงานสองและสามมิติ
(ศ 1.1 ป.4/1)
- เข้าใจและสามารถอภิปรายเกี่ยวกับสีวรรณะเย็นวรรณะอุ่นพร้อมทั้งสามารถนำมาใช้ได้
 (ศ 1.1 ป.4/2)
- มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทำงานศิลปะและการออกแบบ  (ศ 1.1 ป.4/4-5)
- เข้าใจและสามารถเลือกใช้สีวรรณะต่างๆได้  (ศ 1.1 ป.4/9)
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายเหตุผลในการทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย รวมทั้งนำไปปรับใช้ในการทำงานของตนเองได้                                      (ง 1.1 ป. 4/1)
- ทำงานอย่างเป็นขั้นตอนตามกระบวน การ ทำงาน  ด้วยความสะอาดประหยัด รอบคอบและอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ 
   (ง 1.1.4/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทและเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มขณะทำงาน                  (ง 1.1 ป. 4/3)
- ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัด คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูง
 (ง 1.1 ป. 4/4)
- บอกประโยชน์และหน้าที่การใช้งานของสิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือนได้อย่างเหมาะสม                    (ง 2.1 ป.4/1)



สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
- การสรุปองค์ความรู้
   - สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนา
   - สรุปองค์ความรู้หลังเรียน

มาตรฐาน ว8.1
- ตั้งคำถามและหาคำตอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับอาหารผ่านการทำชิ้นงานแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษา                (ว 8.1 ป.4/1)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบนำเสนอผลการเรียนรู้โดยการแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม วิเคราะห์สิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งสามารถระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงได้    (ว 8.1.4/4-6)
- สร้างคำถามใหม่และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ค้นคว้า 
 (8.1ป.4/5-6)
- บันทึกและอธิบายผลจากการศึกษาค้นคว้า โดยสรุปองค์ความรู้ตามรูปแบบ Mind mapping หรือรูปแบบอื่น แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้  (ว 8.1 ป.4/7-8)
- นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา หรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ            (ว 8.1 .6/8)

มาตรฐาน ส 2.1
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 4/2)
- สามารถยอมรับความคิดเห็น และการปฏิบัติที่แตกต่างของบุคคลอื่น(ส 2.1 ป. 4/4)
มาตรฐาน ส 2.2
รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง  สามารถยอมรับและปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองได้      (ส 2.2 ป. 4/2)
มาตรฐาน ส 3.1
 - ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน (ส 3.1 ป.5/2)
- บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
(ส 3.1 ป.6/3)
มาตรฐาน ส 3.2
อธิบายความสัมพันธ์ของอาหารท้องถิ่นที่มีผลต่อเศรษฐกิจของคนในชุมชน(ส 3.2 ป.4/1)
มาตรฐาน ส 5.2
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค   (ส 5.2 ป.5/1)

มาตรฐาน ส 2.1 สามารถนำเสนอวิธีการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในชีวิตประจำวันได้     (ส 2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ส 2.2
สามารถอธิบายสรุปองค์ความรู้ในกระบวนการได้             (ส 2.2 ป.4/2)



มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลต่อวิถีชีวิตการบริโภค พฤติกรรมการกิน ปัญหาความขัดแย้งและปัจจัยที่ก่อให้เกิดการขาดแคลนอาหารในอนาคตได้อย่างเป็นระบบ
(ส 4.1ป.4/2)
มาตรฐาน ส 4.3
- นำทรัพยากรในท้องถิ่นมาประกอบอาหาร เห็นคุณค่าของอาหารและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของอาหารต่อชีวิตและสิ่งมีชีวิตในอนาคต
- แนวโน้มความน่าจะเป็น เกี่ยวกับปริมาณและความต้องการอาหารในอนาคต
 (ภาวการณ์ขาดแคลนอาหาร ,วิถีการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในภาวะ การขาดอาหาร)
(ส 4.3 .4/2)

มาตรฐาน พ 2.1
- เห็นความสำคัญของการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีน้ำใจ และรักษาสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่น
 (พ 2.1ป.6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(พ 2.1ป.4/2)
มาตรฐาน พ 3.1
สามารถใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แสดงท่าทางบทบาทสมมุติเพื่อสื่อสาร หรือถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(พ 3.1ป.5/1)

มาตรฐาน ศ 1.1
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์ภาพระบายสีเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้หลังเรียนโครงงาน
(ศ 1.1 ป.4/4)
- วาดภาพระบายสีโดยใช้สีวรรณะอุ่นและเย็นถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการ
 (ศ 1.1 ป.4/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
 มีมารยาทในการนำเสนองานและการเป็นผู้ชมที่ดี              (ศ2.1 ป.4/5)
มาตรฐาน ง 1.1
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานสามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง 1.1 ป.4/2-3)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์    (ง 1.1 ป.5/2)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า  (ง 1.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานได้
(ง 2.1 ป.4/4)
- สามารถอธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี                           (ง 2.1 ป.5/1)
- นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปใช้ประยุกต์สร้างสิ่งของเครื่องใช้ (ง 2.1 ป.5/3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่  (ง 2.1 ป.5/5)
มาตรฐานง 3.1
สามารถค้นหารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ประเภท ของการทำแอนนิเมชันจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์                (ง 3.1 ป.5/1)